Learning 7
(in class)
สังคมไทยในปัจจุบันนั้นภาษาอังกฤษได้เข้ามามีบทบาทในการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆรวมไปถึงสามารถใช้ในการประยุกต์
รูปแบบการสอนในรายวิชาเรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหาที่ผู้สอนต้องการสอนมากขึ้นซึ่งในภาษาอังกฤษนั้นผู้เรียนจะต้องมีความรู้พื้นฐานในหลายหลายเรื่องเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการสร้างประโยคนั้นแบบต่างๆและสามารถแรงงานจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้โดยที่ยังคงความหมายเดิมและเข้าใจมากขึ้นเรื่องเรื่องที่มีความสำคัญอีกเรื่องหนึ่ง ก็คือเรื่อง If clause ซึ่งจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับประโยคเงื่อนไขซึ่งจะสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภทแต่ละประเภทนั้นก็จะมีความหมายที่แตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นเรื่องโครงสร้างประโยคการใช้tense
และแต่ละประเภทนั้นยังมีความหมายที่แตกต่างกันออกไป
ซึ่งเรื่องนี้จะหลายตำรา
แต่ละตำรานั้นจะมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไปก่อนที่เราจะสามารถแต่งประโยคได้เงื่อนไขได้นั้นเราต้องมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในเรื่องของTense
ในรูปแบบต่างๆก่อนที่เราจะสามารถแต่งประโยคเงื่อนไขได้ง่ายขึ้น
เราต้องรู้เกี่ยวกับเรื่องกาลเวลาต่างๆก่อน เพราะจะมีความเกี่ยวเนื่องกัน
เราก็จะเรียนรู้ข้องมูลเรื่องประโยคเงื่อนไขกันใยย่อหน้าถัดไป
เพื่อที่จะนำมาประยุกต์ใช้ได้ในการเรียนกรสอน
If
clause คือ
ประโยคที่เงื่อนไขหรือสมมติ จะมีส่วยประกอบ 2 ส่วน คือ ประโยคที่แสดงเงื่อนไข
(if – clause)และประโยคที่แสดงผลของเงื่อนไข (main clause)
เช่น If I have much
money, I will buy a new car. (ถ้าฉันมีเงินเยอะ ฉันจะซื้อรถใหม่)
If – clause (Conditional Sentences) จะมี 3 แบบ
คือ
1. Present Possible มีโครงสร้างประโยค
คือ if + Present Simple, present simple If +…V1, ...V1
เราจะใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นจริงตามธรรมชาติ เป็นความจริง
ตามหลักวิทยาศาสตร์ เช่น
- If you turn to the
east, you see the sun rising.
ถ้าคุณหันหน้าไปทางทิศตะวันออก คุณก็จะเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น
- If the water
becomes into ice, the temperature is – 0°c.
ถ้าน้ำกลายเป็นน้ำแข็ง อุณหภูมิก็ติดลบ ศูนย์ องศาเซลเซียส
= if + Present Simple, Future Simple If + .……V1, …. will V1…….
เราจะใช้กับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เช่น
- If mother comes
back, I will tell you.
ถ้าแม่กลับมา ฉันจะบอกคุณ
- If I have a new
dress, I will go to the party.
ถ้ามันมีชุดใหม่ ฉันจะไปงานเลี้ยง
- if + Present Simple, imperative (V1) เราจะใช้ในประโยคคำสั่ง เช่น
- If father comes,
tell me immediately.
ถ้าพ่อมา ให้บอกฉันทันทีเลยนะ
- Don’t sleep in
the class, If Miss King teaches.
ห้ามหลับในห้องเรียน ถ้ามิสคิง สอน
2. Present Unreal
ใช้กับการสมมุติในเหตุการณ์ที่เป็นไปไม่ได้ในปัจจุบัน มีโครงสร้างประโยค คือ
If + Past Simple, would/ could/ should + V1
If + ………V2..……would/ could/ should + V………. ตังอย่างประโยค
เช่น
- If I had an
airplane, I would fly around the world.
ถ้ามันมีเครื่องบิน ฉันคงจะบินไปรอบโลก
- If I saw him, I
would ask him.
ถ้าฉันพบเขา ฉันจะถามเขา
3. Past Unreal
ใช้กับการสมมุติในเหตุการณ์ที่เป็นไปไม่ได้ในอดีต มีโครงสร้างประโยค คือ
If + Past Perfect, would/ could/ should + have + V3
If +…..had + V3……would/ could/ should + have + V3…….. ตัวอย่างประโยค
เช่น
- If you had eaten
fat and carbohydrate less, you would have been thin.
ถ้าคุณกินไขมัน และคาร์โบไฮเตรดน้อยหน่อย คุณคงจะผม
Had to เป็นรูป if – clause แบบที่ 3
(If + Past Perfect, would have + V3)
Had + S + V3, would have + V3
- If Adam had got up early, he wouldn’t have
missed the bus.
Had Adam got up early, he wouldn’t have
missed the bus.
ถ้าอดัมตื่นแต่เข้า เขาคงไม่พลาดรถบัสหรอก
- If the
weather had been good, I would have swum.
Had the
weather been good, I would have swum.
ถ้าอากาศดี ฉันคงจะไปว่ายน้ำ
การใช้ Unless มีความหมายว่า if…not (ถ้าไม่)
- If I don’t
study hard I won’t pass the exam.
Unless I
study hard, I wouldn’t pass the exam.
ถ้าฉันไม่เรียนให้หนัก ฉันคงสอบไม่ผ่าน
เวันแต่ว่า ฉันต้องเรียนให้หนัก ไม่งั้น ฉันคงสอบไม่ผ่าน
- If I didn’t
have parents, I wouldn’t study in a university.
Unless I
had parents, I wouldn’t study in a university.
ถ้าฉันไม่มีผู้ปกครอง ฉันคงไม่เรียนในมหาวิทยาลัย
จากการศึกษาในในห้องเรียนเรื่องของ If
Clause หรือที่เรารู้จักกันในชื่อว่าการวางประโยคเงื่อนไข จากการเรียนในห้องเรียนครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าประโยคเงื่อนไขนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น
3 ประเภทซึ่งเราก็จะสามารถรู้ ความหมายและโครงสร้างของแต่ละประเภทนั้นเราไปที่สำคัญเราสามารถ
นำความรู้ที่ได้จากนี้ต้องไปอยู่ในประเภทต่างๆเราสามารถไวยากรณ์ไปในตัวด้วยเกิดความชำนาญมากขึ้นแต่ถ้าเราเข้าใจในเนื้อหาของประโยคเงื่อนไขการระบายได้เราก็จะสามารถสร้างประโยคความรวมประโยคเพราะเรามีความเข้าใจเพียงพอแล้วและเราต้องมีการฝึกฝนตามประโยคในหลายหลายรูปแบบได้เกิดความชำนาญและสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนในห้องเรียนวิชาต่อๆไปได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น