วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Learning Log 4 ( in class )


Learning Log 4
( in class )
สังคมไทยในปัจจุบันให้ความสำคัญในการแปลและการเขียนประโยคในภาษาอังกฤษเป็นอย่างมาก เนื่องจากคนไทยในปัจจุบันไม่มีความเข้าใจในเรื่องไวยากรณ์ รวมไปถึงโครงสร้างประโยคที่ชัดเจนทำให้งานเขียนนั้นออกมาแบบถูกถูกผิดผิด เพราะบุคคลส่วนมากจะไปมาจากประโยคภาษาไทยมาเป็นประโยคภาษาอังกฤษ จึงทำให้ไม่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ก่อนที่ทำงานเขียนหรืองานแปลนั้น  ทุกคนต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของประโยคก่อนซึ่งประโยคก็จะแบ่งเป็นหลายประเภทและแต่ละประเทศจะมีความแตกต่างกันแต่ละชนิดจะมีหลักการและเทคนิคการเขียนประโยคต่างกันเราไปโครงสร้างประโยคแต่ละประเภทจะเป็นร้านที่เขียนได้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์และเป็นพื้นฐานการเขียนที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเขียนบทความในรูปแบบต่างๆได้ถูกต้องซึ่งในประโยคแต่ละประเภท นั้นมีโครงสร้างประโยคที่ชัดเจนโดยที่เราต้องมีการเรียนรู้ข้อมูลประโยคประเภทต่างๆให้เข้าใจอย่างชัดเจนซึ่งไปอยู่จะแบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือความเดียว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน ประโยคผสม

ประโยคเกิดจากคำหลายๆคำหรือวลีที่นำมาเรียงต่อกันอย่างเป็นระเบียบ และให้ความมีความสัมพันธ์กันมีใจความสมบูรณ์แสดงให้รู้ว่าใครทำอะไรที่ไหนอย่างไรซึ่งประโยคแต่ละประเภทจะมีส่วนประกอบของประโยคประโยค 1 นั้นจะต้องมีภาพประธานและภาคแสดงเป็นหลักอาจมีคำขยายส่วนต่างๆได้คือ 1) ภาคประธาน คือ คำ หรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่เป็นส่วนสำคัญของประโยคประธานอ่านมีบทขยาย ซึ่งเป็นคำหรือกลุ่มคำมาประกบเพื่อทำให้มีใจความชัดเจนยิ่งขึ้นพระประธานอาจมีได้หลายรูปแบบ เช่น
-เป็นคำนาม เช่น The man walked in the train.
- เป็นคำสรรพนาม เช่น He was a policeman.
-เป็นอนุประโยค เช่น What he described frightened everybody.
-เป็น gerund เช่น Writing was her hobby.
-เป็น gerund phrase เช่น Working in the South is dangerous.
-เป็น infinitive เช่น To swim is a good exercise.
-เป็น infinitive phrase เช่น To escape from the prison seems impossible for hom.
2) ภาคแสดง (predicate) อยากแสดงจะต้องประกอบด้วยเป็นยาและคำที่มีกรรมโดยเรียกว่า verb completion หรือส่วนที่ขยายเรียกว่าverb modifires
(2.1) verb completion. เช่น
- She knows my name.
- Many people complained a lot of about air pollution.
                                (2.2) verb modifiers เช่น
-The teacher should speak nicely to the children.
-Students can be observed in all classroom.
ชนิดของประโยค
ประโยค (sentence) แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทดังนี้
1)ประโยคตวามเดียว (somple sentence) คือ ประโยคที่มีประโยคอิสระ (independent clause) เพียงประโยคเดียว เช่น
 -Linda wrote that novel.
-The secrelary answer the phone.
2) ประโยคความรวม (compound sentence) คือ ประโยคที่มีประโยคอิสระ (Independent Clause) ตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไปเเละมีคำสันธานหรือคำเชื่อมมาเชื่อมประโยคเข้าด้วยกันได้แก่ and, but, nor, or, for, so, yet. เช่น
- University students can live in the dormitories or in the private apartment.
- Woman live longer than men,for they take better care of their health.
3) ประโยคความซ้อน ( Compound Sentence) ประโยคที่มีประธานและกริยามากกว่า 1 ชุด ประโยคย่อยที่แยกออกมาจากประโยคจะมีใจความไม่สมบูรณ์อยู่ นั่นคือ อนุประโยครอง (Subordinate clause หรือ dependent clause) และมีประโยคหลัก มักใช้คำสันธานพวก Subordinating Conjunctions เช่น when where which that who how because if เช่น
                 - Some old people are afraid of using computer while others welcome it
 - Students who are in the second year are called sophomore.
 - Curiosity is one of the early drives which can be used to the full by the elementary school teacher.
4) ประโยคผสม (Complex-Compound Sentence) เป็นประโยคที่มีประธานและกริยาตั้งแต่ 3 ชุดขึ้นไป โดยที่มีทั้งคำสันธานที่บอกถึงความเป็นประโยคความรวม และประโยคความซ้อนในประโยคเดียว
เช่น
-He said that he had to wake up at 6:00 AM, but he woked up at 8:00 AM this morning.
- Before Jack could go to the party, he had to finish his annual report, but he found it hard to concentrate.










Adverb Clause
Adverb Clause ทำหน้าที่เหมือนคำ adverb ในประโยค ซึ่งขยายคำกริยา, ขยายคำคุณศัพท์ หรือขยายคำกริยาวิเศษณ์
ชนิดของ Adverb Clause
1. Adverb Clause of Time คือ adverb clause บอกถึงเวลา ให้ทราบว่าการกระทำ นั้นได้กระทำเมื่อไหร่  ซึ่งมักจะขึ้นต้นประโยคด้วย Subordinate Conjunction ดังต่อไปนี้
when
while 
before 
after 
whenever 
as long as
all the time(that)
as 
since 
till 
until
as soon as
so long as
by the time (that)
เช่น When the policeman appeared, the thief ran away.
2. Adverb Clause of Manner  คือ clause ที่ทำหน้าที่เป็น adverb ขยายกริยาใน ประโยคหลัก เพื่อบอกให้ทราบว่า การกระทำนั้นได้กระทำในลักษณะอย่างไร โดยมี prinsipal conjunctions ดังต่อไปนี้
 as
as if 
as though 
เช่น He looks as if he were rich.
3. Adverb Clause of Place คือ adverb clause ที่บอกถึงสถานที่ เพื่อบอกให้ทราบ ว่า การกระทำนั้น ได้ กระทำ ณ ที่ไหน มักจะขึ้นต้นด้วย Relative Adverb ดังต่อไปนี้
 where
wherever 
as far as 
as near as 
เช่น I will go wherever she go.
4. Adverb Clause of Reason คือ adverb clause  ที่แสดงเหตุผลสำหรับข้อความที่ อยู่ในประโยคหลัก โดยจะมีคำสันธานเชื่อมเข้ากับประโยคหลัก ดังนี้
because 
as
since
now that
seeing that
whereas 
inasmuch as 
due to the fact that 
because of the fact that
owning to the fact that
in view of the fact that    
on account of the fact that
เช่น As he was fool,he refused to listen to me.
5. Adverb Clause of Result คือ adverb clause  ที่แสดงผลของการกระทำที่เกิดขึ้น หรือ อาจเกิดขึ้นในประโยคหลัก  โดยจะมีคำสันธานเชื่อมเข้ากับประโยคหลัก ดังนี้
 so that
so.....that
such.....that 

โดยมีการใช้ดังนี้ 
so + adj./adv, + that = .......ทำให้,จนกระทั่ง
so + adj. + a + noun + that = ........ มากจนกระทั่ง
such + adj + noun (พหูพจน์หรือนับไม่ได้) + that = .......มากจนกระทั่ง
such + a + adj. + noun (นับได้เอกพจน์) + that = .......เสียจนกระทั่ง
เช่น   she is so weak that she can’t work hard. 
(so.....that she can’t work hard เป็น adverb clause บอกผลทำหน้าที่ขยายคุณศัพท์ weak)
6. Adverb Clause of Purpose คือ adverb clause ที่แสดงวัตถุประสงค์ของการ กระทำในประโยคหลัก โดยจะมีคำสันธานต่อไปนี้เชื่อมเข้ากับประโยคหลัก
 so that
that 
so 
in order that 
 for the purpose that
lest 
in case (that) 
for fear that 
**that, so that และ in order that มักใช้คู่กับ may, might เสมอ 
**ส่วน lest มักใช้คู่กับ should มีความหมายเท่ากับ so that....... not (เพื่อที่จะไม่)
เช่น   I’m telling you this lest you should make a mistake.
         (lest you should make a mistake เป็น adverb clause ทำหน้าที่ขยายกริยา telling เพื่อบอกให้ทราบว่า ผมบอกคุณเพื่อจุดประสงค์อะไร)
7. Adverb Clause of Concession หรือ Supposition คือ adverb clause ที่แสดง ความขัดแย้ง โดยมีคำสันธานเพื่อเชื่อมเข้ากับประโยคหลัก ดังนี้
 though
although 
even though 
even if 
 however
admitting that 
notwithstanding that 
in spite of the fact that  
 despite the fact that
notwithstanding the fact that
(adverb หรือ adjective) + as

เช่น   He is honest, though he is poor.
8. Adverb Clause of Comparison คือ adverb clause ที่ใช้แสดงการเปรียบเทียบ กับข้อความที่อยู่ข้างหน้า ลักษณะประโยคจะขึ้นต้นด้วยคำสันธาน ดังนี้
 as + Adj./Adv. + as  
not so + Adj/Adv. + as 
   such + noun + as
 คุณศัพท์ขั้นกว่า + noun 

เช่น     He is as clever as you are.
9. Adverb Clause of Reservation คือ adverb clause ที่ไปขยายข้อความอื่น เพื่อ บอกการยดเว้น   ลักษณะประโยคจะขึ้นต้นด้วยคำสันธาน ดังนี้
-except that 
-except for the fact that
เช่น She is a very good girl except that she rarely talks.
10. Adverb Clause of Condition คือ adverb clause ที่แสดงเงื่อนไข โดยมี คำสันธาเชื่อมเข้ากับประโยคหลัก ดังนี้
 if
if only 
unless 
supposing (that) 
 providing (that)
provided (that)
on the condition (that) 
in the event (that) 
in case (that) 
as long as 
on the understanding that 
but that (= if......not) 
เช่น  I would come with you If I were not so busy.
สรุปได้ว่าการเรียบเรียงถ้อยคำเป็นประโยคความเดียวประโยคความรวมและประโยคความซ้อนสามารถขยายให้เป็นประโยคยาวขึ้นได้ด้วยการใช้คำกลุ่มคำหรือประโยคเป็นส่วนขยายยิ่งประโยคมีส่วนขยายหรือองค์ประกอบมากเพียงใดก็จะทำให้การสื่อสารเกิดความเข้าใจต่อต่อกันมากขึ้นและข้อสำคัญนั้นคือเรามีความเข้าใจในรูปแบบประโยคการใช้คำเชื่อมและทำขยาย แต่เราต้องมีความคำนึงถึงเจตนาในการสงสารด้วย ผู้ที่มีทักษะในการเรียบเรียงประโยคสามารถพัฒนาไปสู่การเขียนเล่าเรื่องเรื่องราวที่ยืดยาวได้ตามเจตนาของการสื่อสารดังนั้นผู้ใช้ภาษาจริงต้องศึกษาและทำความเข้าใจในเรื่องของโครงสร้างประโยคและวิธีการสร้างประโยชน์ให้ชัดเจนก่อนจะทำให้การสื่อสารนั้นนั้นและสามารถใช้ภาษาสื่อสารความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น