Learning Log 8
(in class)
สังคมไทยในปัจจุบันนั้นมีการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆรวมไปถึงสามารถนำไปสื่อสารกับชาวต่างชาติได้เข้าใจมากขึ้นและในภาษาอังกฤษนั้นมากมายหลายหลายเรื่องเนื้อหาสาระและสามารถนำไปปรับใช้ในวิชาห้องเรียนภาพนี้การเงินเนื้อหาในเรื่องของ
Noun Clause ซึ่ง Noun Clause ก็เป็นเรื่องที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากอีกเรื่องหนึ่ง
เช่นกัน เพราะ การใช้ Noun Clause เรื่องนี้ให้เราได้เรียนรู้การใช้ที่ถูกต้องถือว่าเป็นเรื่องที่สำคัญมากโดยเฉพาะให้งานเขียนและการพูดซึ่งเราสามารถนำข้อมูลที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับการเรียนรู้ในเรื่องอื่นๆต่อไปได้ส่วนในเรื่องของNoun
Clause จากได้ 4 ประเภทด้วยกันซึ่งแต่ละประเภทหน้าที่และโครงสร้างประโยคที่แตกต่างกันออกไป
Noun Clause จะทำหน้าที่เสมือนเป็นคำนามดังนั้นจึงสามารถปรากฏอยู่ในตำแหน่งที่คำนามปรากฏได้ทุกตำแหน่งเป็นประธานและกรรมจะเป็นประธานหรือกรรมได้ในประโยคในรูปแบบไหนนั้นเราต้องมาเรียนรู้ในส่วนของเนื้อหาในย่อหน้าต่อไป
จะทำหน้าที่เสมือนเป็นคำนามดังนั้นจึงสามารถปรากฏอยู่ในตำแหน่งที่คำนามปรากฏได้ทุกตำแหน่งเป็นประธานและกรรมจะเป็นประธานหรือกรรมได้ในประโยคในรูปแบบไหนนั้นเราต้องมาเรียนรู้ในส่วนของเนื้อหาในย่อหน้าต่อไป.
Noun Clauses ทำหน้าที่เสมือนหนึ่งเป็นคำนามในประโยค
ในชีวิตประจำวัน เราอาจได้ยินหรือใช้ noun clauses โดยไม่รู้ตัวว่ากำลังใช้ noun clauses อยู่เลย เช่น
-Somsak thinks (that) he had better
stop smoking.
สมศักดิ์คิดว่าเขาควรจะหยุดสูบบุหรี่แล้วตอนนี้
-I don’t understand (what) Nadej
wants to convey.
ผมไม่เข้าใจในสิ่งที่ณเดชต้องการจะสื่อเลย
เมื่อ Noun
clause ทำหน้าที่เสมือนเป็นคำนาม ดังนั้น Noun clause จึงสามารถปรากฏอยู่ในตำแหน่งที่คำนามปรากฏได้ทุกตำแหน่ง คือ เป็นประธาน (Subject)
และกรรม (object) จะเป็นประธานหรือกรรมอย่างไรนั้น
เดี๋ยวเรามาดูกันนะคะ
Types of Noun Clauses
-Subject NC มีตำแหน่งอยู่หน้าประโยคหรือหน้ากริยาทำหน้าที่เป็นประธานในประโยค
-Direct Object NC มีตำแหน่งอยู่หลังกริยา
ทำหน้าที่เป็นกรรม
-Object of Preposition NC มีตำแหน่งอยู่หลังบุรพบท ทำหน้าที่เป็นกรรมของบุรพบท
-Subject as Complement NC มีตำแหน่งอยู่หลัง to be ทำหน้าที่เป็นส่วนขยายประธาน
1. Subject Noun Clauses
โดยปกติแล้ว
คำนามหรืออนุประโยคที่ทำหน้าที่เป็นประธานในประโยคมักจะปรากฏอยู่หน้ากริยาหรือหน้าประโยค
ตัวอย่างเช่น
-What causes so many difficulties in
the IELTS test is the writing section.
จากประโยคข้างต้น What causes so many difficulties in the IELTS test เป็น
noun clause อยู่หน้าประโยค ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค
2. Direct Object Noun Clauses
-I suggest you that you should go to
a movie with me tonight.
ผมแนะนำว่าคุณควรจะไปดูหนังกับผมคืนนี้
จากประโยคข้างต้น that we should go to a movie tonight อยู่หลังกริยา suggest
เป็นกรรมตรง (Direct object) ของ suggest
ตามหลังกรรมรอง (Indirect object)
-I believe that students should not
have to wear a uniform.
3. Object of the Preposition Noun
Clauses
-Yaya is always proud of where she
was born.
ญาญ่าภูมิใจในบ้านเกิดของตนเองเสมอ
จากประโยคข้างต้น where she was born เป็นคำนาม มีตำแหน่งอยู่หลังบุรพบท
(Preposition) of ทำหน้าที่เป็นกรรมของ of ค่ะ
4. Subject as Complement Noun
Clauses
The stability of life is what James
ji wants the most in his life.
ความมั่นคงในชีวิตคือสิ่งที่เจมส์
จิต้องการที่สุด
จากประโยคข้างต้น what James ji wants the most in his life มีตำแหน่งอยู่หลังกริยาช่วย
(V.to be) is ทำหน้าที่เป็นส่วนขยายหรือเป็นส่วนสมบูรณ์ของประธาน
the stability of life เพื่อบ่งชี้หรือขยายความ the
stability of life
Noun clauses เมื่ออยู่ในตำแหน่งของประธานจะเรียกว่า
“Subject noun clauses” แต่เมื่ออยู่ในตำแหน่งของกรรม
จะเรียกว่า “Object noun clauses” ทั้งนี้เมื่อแบ่งประเภทของ
Noun Clause ที่เป็นกรรมจะแบ่งออกมาได้อีกหลายประเภท
ลองมาทำความเข้าใจกันดูนะคะ
ประเภทของ Object Noun
Clauses
Object Noun
Clauses จะต้องอยู่คู่กับ Main Clause ของประโยคเสมอ
โดยประโยคจะเริ่มด้วย Main Clause แล้วตามด้วย Object
Noun clause โดยไม่ต้องมีเครื่องหมาย Comma คั่น
Object noun clauses มี 3 ประเภท
ได้แก่
-Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า
“that”
-Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย
“Wh-Words” (หรือ Question Words)
-Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า
“if” หรือ “whether”
การใช้ Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า “That”
เราใช้ Noun clauses ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า that ในกรณีต่อไปนี้
ใช้ตามหลัง verbs บางตัวที่แสดงความรู้สึก ความคิด หรือ
ความคิดเห็น เช่น agree, feel, know, remember, believe, forget, realize,
think, doubt, hope, recognize, understand เช่น
-Sompong knows all along that his
mum loves him so much.
สมปองรู้มาโดยตลอดว่าแม่รักเขามากๆ
-I think that it’s red, not green.
ส่วนใหญ่กริยา (verb) ที่ปรากฏอยู่ใน main clause มักจะเป็น Present Simple Tense ธรรมดาส่วนกริยา (Verb)
ใน noun clause จะเป็น tense อะไรก็ได้ เช่น
-I believe it’s raining. (now)
-I believe it’ll rain. (very soon)
-I believe it rained. (a moment ago)
ในการสนทนา
ถ้าต้องการหลีกเลี่ยงการพูดคำว่า that บ่อยเกินไป หรือไม่ต้องการพูด noun clause ซ้ำ สามารถตอบโดยใช้คำว่า
so หรือ not หลัง main clauses ได้ เช่น
Sarut: Is Sangrawee here today?
Patraporn: I think so.
Denlar: Has the rain stopped?
Saksit: I don’t believe so.
Koob: Are we ready to leave?
Tuptim: I’m afraid not.
การใช้ Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย Wh-Words
การใช้ Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย Wh-Words (ได้แก่คำว่า what
where when why how) มีหลักเกณฑ์ดังนี้
Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย Wh-Words มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
Indirect wh-questions และแม้ว่า noun clause เหล่านี้จะขึ้นต้นด้วยคำแสดงคำถาม แต่ลำดับคำ (word order) ในอนุประโยคนี้ จะเป็นลำดับคำของประโยคบอกเล่า
ไม่ใช่ลำดับคำของประโยคคำถาม
เช่น
I know why she comes home very late.
I don’t know when she will arrive.
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนของประโยคจะเป็นไปตามลักษณะของ
main clause กล่าวคือ ถ้า main clause เป็นคำถามจะใช้เครื่องหมาย question mark ปิดประโยค
ถ้า main clause เป็นบอกเล่า จะใช้เครื่องหมาย full
stop ปิดประโยค
เช่น
Could you tell me where the elevators are?
I’m wondering where the elevators
are.
I don’t know how much it costs.
I would like to know when our next
meeting will be.
ใช้ Noun
Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย Wh-Words เพื่อถามหาข้อมูลอย่างสุภาพ
เช่น Could you tell
me who are injured in the accident?
Can you tell me what time the show
starts?
การใช้ Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย If หรือ
Whether
การใช้ Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย if หรือ
whether มีหลักเกณฑ์ดังนี้
Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย if หรือ whether คือ indirect yes/no questions นั่นเอง
เช่น Direct
Question: Did they pass the exam?
Indirect Question: I don’t know if
they passed the exam.
ลำดับคำในประโยค (word order) และเครื่องหมายจบประโยค
ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับ Noun Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย Wh-Words
จะขึ้นต้น Noun Clauses ด้วยคำว่า if หรือ whether
ก็ได้ แต่มักใช้ whether ในสถานการณ์ที่ค่อนข้างเป็นทางการ
เช่น Sir, I would
like to know whether you prefer coffee or tea.
Tell me if you want to go with us or
not.
ใช้ Noun
Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย if หรือ whether
เมื่อ main clause แสดงการใช้ความคิด
หรือความคิดคำนึง
เช่น I can’t
remember if I had already paid him.
I wonder whether he will arrive in
time.
ใช้ Noun
Clauses ที่ขึ้นต้นด้วย if หรือ whether
เมื่อต้องการถามคำถามอย่างสุภาพ
เช่น Do you know if
the principal is in his office.
Can you tell me whether the tickets
include drinks?
การละ that ในประโยค Noun Clause
That ที่นำหน้า noun
clause ที่ทำหน้าที่บางหน้าที่ใน complex sentence สามารถจะละได้ในกรณีต่อไปนี้
กรณีที่ noun clause เป็น object
We believe (that) he told the truth.
The police assured us (that) the
children would be found safe and sound.
I wish (that) I would win the first
prize.
กรณีที่ noun clause เป็น subject complement
The reason is (that) he speaks
English fluently.
My opinion is (that) you’d better
stay home.
จากข้อมูลในเรื่องของ
Noun Clause มีประโยชน์ต่อเรามากมายเพราะเรามีความจำเป็นในการใช้เขียนกูสร้างประโยคใหม่ขึ้นมาเพราะฉะนั้นเราต้องอาศัยความรู้เรื่องนี้เพื่อนำไปต่อยอดในการเรียนรู้เรื่องต่อๆไปจัดการเรียนรู้เรื่องนี้ข้าพเจ้าได้มีการศึกษาอยู่ประโยคต่างๆและสามารถออนไลน์ได้ใกล้เคียงกับความหมายและภาวะเจ้าก็สามารถนำความรู้ที่ได้มีเรื่องนี้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆรวมไปถึง
ข้าพเจ้าได้มีการฝึกทักษะในหลายหลายด้านไม่ว่าจะเป็นการฝึกทักษะด้านการเขียนการอ่านและการเขียน
สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนคาบนี้เรียนนี้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ในชีวิตประจำวันแล้วเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นการฝึกตัวเองเพื่อให้เกิดความแม่นยำอีกด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น